Entries by Yangna_Admin

การฟื้นฟูระบบราก (ตอนที่2)

สภาพพื้นที่ที่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก อีกทั้งยังมีถนนตัดผ่าน ทำให้รากมีผลกระทบโดยตรงจากการบดอัดถนน และบางพื้นที่มีการค้าขายมีการเทปูนรอบต้นยาง หรือมีการสันจรทำให้ดินแข็งน้ำไม่สามารถลงได้ จึงได้ทำการปรุงดินหรือปรับเปลี่ยนดินโดยการผสมส่วนต่างๆเข้าไป เพื่อทำโครสร้างดินมีชีวิต อีกครั้ง

การฟื้นฟูระบบราก (ตอนที่1)

การฟื้นฟูระบบราก คือ วิธีการจัดการโครงสร้างดินให้เหมาะกับการหาอาหารของราก ประกอบไปด้วย อนินทรีย์วัตถุ(แร่ธาตุ) 45% อินทรียวัตถุ 5% น้ำในดิน 25% อากาศในดิน 25%

ต้นยางนานั้นไม่ได้แข็งแรงเหมือนแต่ก่อนแล้ว

เมื่อเมืองเจริญแบบก้าวกระโดด เต็มไปด้วยสิ่งปลูกสร้าง และยานพาหนะปัจจัยภายนอกของต้นไม้ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ต้นไม้ ดูดน้ำ สารอาหารได้น้อยลง การสังเคราะห์แสง การสร้างอาหาร การหายใจ ทำได้น้อยลง การสังเคราะห์ฮอร์โมน การลำเลียงสารอาหารทำได้ไม่ดีเท่าที่ควร

การวัดความสูงของต้นไม้ ด้วย Clinometer

เคยไหมกับการถามกันว่า ต้นไม้ต้นนี้ สูงเท่าไหร่ เราเถียงกันไปเถียงกันมา บ้างก็วัดจากควาสูงของเสาร์ไฟฟ้า บ้างก็วัดจาก ความสูงของชั้นตึก เถียงกันไปมาไม่รู้จบ

ทำยากำจัดปลวกจากใบขี้เหล็ก มากำจัดปลวกให้ต้นยางนา

จากแนวคิดการนำปุ๋ยใบยางนาไปฟื้นฟูต้นขี้เหล็กที่เสื่อมโทรม กลับกันนั้นเราก็นำยากำจัดปลวกจากใบขี้เหล็ก มากำจัดปลวกให้ต้นยางนาด้วย

การปลูกต้นยางนาริมทาง กว่า 1,000 ต้น เมื่อ พ.ศ.2445

เมื่อแรกปลูก มีกฎระเบียบในการดูแลรักษาอย่างเคร่งครัด เช่น ห้ามเลี้ยงสัตว์บนเขตถนนและที่ทำการของทางราชการ หากสัตว์เลี้ยงของผู้ใดเหยียบย่ำต้นไม้ที่ปลูกไว้จะต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 20 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน

สมาคมยางนาขี้เหล็ก-สยาม เสนอแนวคิด เล่าเรื่อง ผ่าน…”ต้นยางนาที่โค่นล้ม” ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม นิเวศวิทยา

นอกจากนี้ท่อนไม้ที่ตัดจากต้นไม้ริมถนนนำมาใช้ประโยชน์ในชุมชน อาทิ สนามเด็กเล่นมีท่อนไม้ให้เด็กปีนเล่น ม้านั่ง แผ่นป้ายในโรงเรียน ป้ายชื่อต้นไม้ นอกจากนี้ยังทำท่อนไม้สื่อความหมายในสวนธารณะ เป็นต้น

นายอำเภอสารภี “หารือหมอต้นไม้ และคณะทำงานฯ” หลังเกิดเหตุต้นยางนาโค่นล้มใส่บ้านเรือนประชาชน

จะมีวิธีไหนที่จะสร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนในพื้นที่และผู้ที่สัญจรใช้เส้นทาง ไปพร้อมๆกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟูต้นยางนาทั้งหมดเอาไว้ เมื่อต้องอยู่ร่วมกัน

หมอต้นไม้ วิเคราะห์ “ต้นยางนาล้ม..จากเหตุพายุ” แนะวิธีสแกนโพรงในลำต้นและระบบราก ประเมินความเสี่ยง

ยังมีต้นยางนาที่ต้องสำรวจโพรงอย่างเร่งอีกหลายต้น เพื่อหาแนวทางการจัดการดูแล โดยการสแกนโพรงในลำต้นและระบบราก