Entries by Terdpong

เทศกาลต้นไม้ใหญ่เมืองเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 ยางนา ขี้เหล็ก เฟสติวัล

ถนนสายประวัติศาสตร์ เชียงใหม่ – ลำพูน 29 – 30 มีนาคม 2562 ณ ร.ร.เวฬุวัน และลานหน้าอำเภอสารภี ประกวดโฟล์คซอง การมอบรางวัล แล ประกาศนียบัตรแก่ผู้ชนะการประกวดประเภทต่างๆ การแสดงดนตรีลูกทุ่ง การแสดงของเยาวชน

5 เหตุผลที่เรารักษ์ถนนสายต้นยาง

ไม่เพียงเคยเป็นถนนสายหลักเชื่อมจังหวัดลำพูนสู่เชียงใหม่ และเชื่อมเชียงใหม่สู่จังหวัดอื่น ๆ ทางตอนใต้เท่านั้น หาก “ถนนเชียงใหม่-ลำพูนสายเก่า” ที่รู้จักกันในนาม “ถนนสายต้นยาง”

ความเป็นมาของต้นยางนาบนถนนสายประวัติศาสตร์ เชียงใหม่ – ลำพูน

ต้นยางนาถนนสายเชียงใหม่-ลำพูน เริ่มปลูกครั้งแรกเมื่อ  พ.ศ. ๒๔๒๕ โดยมหาอำมาตย์โท เจ้าพระยาสุรสีห์ วิสิษฐ์ศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) ข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพตั้งแต่บริเวณเชิงสะพานนวรัฐ

ยางเนิ้ง…น้องสาว ความตาย และความเป็นธรรม

ว่ากันว่าเดิมคงเป็นป่ายางและมีต้นยางบางต้นที่โน้มเอนผิดปกติชาวบ้านจึงเรียกยางเนิ้ง ต่อมากลายเป็นตำบลยางเนิ้งและยกฐานะเป็นอำเภอยางเนิ้งใน พ.ศ. 2434  ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอสารภี  อำเภอเล็ก ๆ

ต้นไม้สวยผู้คนปลอดภัยในถนนสายต้นยางนา

ต้นไม้สวยคนปลอดภัย” ข้อความนี้ฉันได้ยินในวันที่ ไปร่วมงาน เปิดสภายางนาที่เทศบาลหนองผึ่ง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ โดยเป็นการพูดคุยกันถึงแนวทางในการดูแลรักษาและการจัดการยางนาถนนสายเชียงใหม่-ลำพูน

เยาวชนหมอต้นไม้

ต้นยางนา ต้นไม้หมายเมืองของเมืองเชียงใหม่นะคะ เข้าใจผิดคิดว่าเป็นชัยพฤกษ์  ที่แท้คือต้นยางนาต้นไม้ใหญ่  ต้นยางนาไม้ที่มีอายุยืนยาวกว่าสองร้อยปีอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง

ปริศนายางนา 3

นอกเหนือไปจาก “ต้นยางนา” กับ “ต้นขี้เหล็ก” ที่มีสถานะเป็น “ไม้หมายเมือง” ของจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในสองตอนแรก ดินแดนล้านนายังมี “ต้นไม้สำคัญ” ซึ่งเรียกเป็นภาษาเมืองเหนือว่า “เก๊าไม้” ที่น่าสนใจอีกหลายชนิด

ปริศนายางนา 2

จากตอนที่แล้ว ได้ข้อสรุปคร่าวๆ ว่า “ต้นยางนา” จำนวนประมาณพันต้น ที่รายสลอนสองข้างถนนทางหลวงแผ่นดินสาย 106 เชื่อมเมืองเชียงใหม่ที่อำเภอสารภีกับตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูนนั้น น่าจะมีอายุประมาณ 112 ปี

ปริศนายางนา 1

ถนนสายเชื่อมเมืองลำพูน-เชียงใหม่ หรือเชียงใหม่-ลำพูนนั้น มีชื่อเรียกกันอยู่หลายนาม อาทิ เรียกแบบภาษาลำลองบ้านๆ ก็มักเรียกว่า “ถนนต้นยาง” บ้างเติมต้นขี้เหล็กต่อท้ายไปด้วยเป็น “ถนนต้นยาง-ขี้เหล็ก”

โครงการการรักษาฟื้นฟูระบบราก

ปัจจุบันมีต้นยางนาจำนวน 949 ต้น  บางต้นสูงสง่าให้ความร่มรื่น เติมแต่งให้ถนนสวยงาม บางต้นอยู่ในสภาพทรุดโทรม ยามกิ่งหักโค่น ประชาชนและผู้ที่ใช้เส้นทางสัญจรไปมาก็ได้รับความเดือดร้อน มีจำนวนไม่น้อยเกิดความรู้สึกในทางลบ